วันอังคารที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2556

วันเสาร์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2556

ชีววิทยา

ชีววิทยา


เซลล์ เป็นหน่วยย่อยของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตทุกชนิดล้วนประกอบด้วยเซลล์(ยกเว้นไวรัสกับไวรอยด์)
ออร์แกเนลล์หรืออวัยในเซลล์ที่สำคัญ ประกอบด้วย

1.เยิ่อหุ้มเซลล์ เป็นสารประเภทฟอสโฟลิพิด ซึ่งประกอบด้วยฟอสเฟตและไขมัน

2.ไรโบโซม นับเป็นออร์แกเนลล์ชนิดแรกๆของเซลล์ เรียกได้ว่าเกิดขึ้นมาพร้อมกับเซลล์เลยก็ว่าได้
   ซึ่งไรโบโซม มีหน้าที่ผลิตโปรตีน

3.เอนโดพลาสมิกเรตติคิวลัม
   ชนิดเรียบ มีหน้าที่ผลิตไขมัน
   ชนิดขรุขระ มีหน้าที่ผลิตโปรตีน เนื่องจากมีไรโบโซมเกาะอยู่

4.กอลจิบอดี
   เป็นถุง สำหรับรับโปรตีนที่สร้างขึ้นจากออร์แกนเนลล์ต่างๆ มาประกอบให้สมบูรณ์ แล้วส่งไปให้ที่       หมายต่างๆ

5.คลอโรพลาสต์  เป็นรงควัตถุสีเขียวมีหน้าที่สังเคราะห์แสง

6.ไมโทคอนเดรีย เป็นแหล่งสร้างพลังงานให้แก่เซลล์

7.นิวเคลียส เป็นแหล่งที่อยู่ของสารพันธุกรรมของเซลล์
เซลล์สัตว์
เซลล์พืช
ที่มาของภาพ
Camp Bell Biology 9th


วันอังคารที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2556

เคมี

เคมี
สมบัติธาตุตามตารางธาตุ   
-สมบัติธาตุตามตารางธาตุที่ควรจำมีต่างๆ ดังนี้
Inner transition อยู่ที่คาบที่ 6 และ 7
คาบที่ 6 เรียกว่า แลนทาไนด์
คาบที่ 7 เรียกว่า แอกทีไนด์
พันธะไอออนิก=โลหะ+อโลหะ
พันธะโควาเลนซ์=อโลหะ+อโลหะ
สารประกอบ oxide หมู่ 1/2 (ยกเว้นBe/Al)+น้ำ=เบส
สารประกอบ chloride หมู่ 1/2 (ยกเว้นBe)+น้ำ=กรด
สีของเปลวไฟจากการเผาธาตุ
Li=แดง
K=ม่วง
Na=เหลือง
Ca=แดงอิฐ
Ba=เขียว
Cu=เขียวอมฟ้า
Sr=แดง
ขนาดของอะตอม คาบเดียวกัน ซ้ายไปขวาเล็กลง
                      หมู่เดียวกัน บนลงล่างใหญ่ขึ้น
                      ไอออนบวกหากอยู่ในคาบเดียวกันด้านซ้ายจะใหญ่กว่าด้านขวา                          
                      ไอออนลบหากอยู่ในคาบเดียวกันด้านขวาจะใหญ่กว่าด้านซ้าย
ไอออนบวกจ่ายอิเล็กตรอนมากยิ่งเล็ก
ไอออนลบรับอิเล็กตรอนมากยิ่งใหญ่
 IE หมายถึง ค่าพลังงานที่เสียไปที่น้อยที่สุดที่ทำให้อิเล็กตรอนหลุดจากอะตอม
EN หมายถึง ความสามารถในการดึงดูดอิเล็กตรอน
EA หมายถึง พลังงานที่คายออกมาเพื่อให้อะตอมในสถานะแก๊สสามารถรับอิเล็กตรอนได้
สมการนิวเคลียร์ คือ สมการที่ต้องดุลทั้งเลขมวลและเลขอะตอมทั้งสองข้าง
ปฏิกิริยาฟิชชัน คือ การยิงกระสุนนิวตรอนเข้าไปใจกลางนิวเคลียสของธาตุหนักบางชนิด แล้วแตกออกเป็นไอโซโทปของธาตุที่เบากว่า พร้อมกับได้กระสุนนิวตรอนอีก 2-3 อนุภาค

ปฏิกิริยาฟิวชัน คือ การที่ธาตุเบาสองชนิดหลอมรวมกันเป็นนิวเคลียสใหม่ที่มีมวลสูงกว่าเดิม และให้พลังงานปริมาณมหาศาล               
ที่มาของภาพ
httpdc344.4shared.comdoclkjx72lNpreview.html
                                                    

ฟิสิกส์_3

งาน กำลัง และพลังงาน
-งาน   W=FS
          W= งาน(j)
          F= แรง(n)
          S= ระยะทางจากจุดหมุนถึงแนวแรง(m)
-กำลัง    P=W/t=FS/t
         P=กำลัง(Watt)
         t=เวลา(s)
-พลังงาน  k=1/2mv^2
              P=mgh
k=พลังงานจลน์(j)
p=พลังงานศักย์(j)
v=ความเร็ว(m/s)
g=ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก(m/s^2)

h=ความสูง(m)
ที่มาของภาพ
httpwww.rmutphysics.comphysicsoldfront77energy.htm

ฟิสิกส์_2

กฎของนิวตัน
กฎข้อที่ 1 ∑F=0
วัตถุจะอยู่นิ่งหรือไม่เปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่
กฎข้อที่ 2 ∑F=MA
วัตถุจะสามารถเคลื่อนที่ได้เร็วขึ้นหรือน้อยลงเพราะมีความเร่ง
กฎข้อที่ 3 Action=Reaction
ทุกทุกแรงที่กระทำจะมีแรงที่กระทำตอบแต่มีทิศทางตรงกันข้ามกันเสมอ

·       F=แรง(n)
·       M=มวล(kg)

·       A=ความเร่ง(m/s^2)
ที่มาของภาพ
http/newtonlaw3bsru.wordpress.com

ฟิสิกส์_1

ฟิสิกส์
1.กลศาสตร์
-การเคลื่อนที่แนวตรง สมการการเคลื่อนที่แนวตรงมีดังนี้
1. s=((u+v)/2)t
2. s=ut+1/2 at^2
3. s=vt-1/2 at^2        
4. v=u+at       
5. v^2=u^2+2sa
โดย           
s = ระยะทาง
u = ความเร็วต้น
v = ความเร็วปลาย
a = ความเร่ง
t = เวลา
ที่มาของภาพ httpanuchitpongkeua.wordpress.com20100714%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B9%81%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%87